|
|
|
|
ชาวบ้านในตำบลแก่งเสือเต้น มีสภาพความเป็นอยู่แบบเรียบง่าย มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน โดยชาวบ้านส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ และมีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจ และเป็นศูนย์รวมของการทำกิจกรรมทางศาสนา ในวันสำคัญต่างๆ และเนื่องด้วยสภาพภูมิประเทศที่อยู่ใกล้แหล่งน้ำ ซึ่งเอื้อต่อการทำการเกษตร ทำให้ประชาชนที่นี่ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม และในการดำเนินชีวิต ชาวบ้านก็ได้นำเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันด้วย |
|
|
|
|
|
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99 และนับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 1 ในส่วนการกระจายตัวของการให้บริการสถาบันศาสนาในชุมชน ใช้ประกอบกิจกรรมในการทำบุญช่วงประเพณี และเผาศพ |
มีจำนวนศาสนาสถานในชุมชน 3 แห่ง ได้แก่ |

 |
วัดแก่งเสือเต้น |

 |
วัดหนองบัว |

 |
วัดคีรีโสภณ |
|
|
|
|
|
|
|
โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 2
จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ |

 |
โรงเรียนชุมชนบ้านแก่งเสือเต้น (อนุบาล 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3) |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน 1 แห่ง ได้แก่ |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแก่งเสือเต้น (อนุบาล 3 ขวบ) |
|
|
|
|
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
คลีนิคเอกชน |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
|
|
ประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ |

 |
ประเพณีทำบุญวันขึ้นปีใหม่ กิจกรรมในวันที่ 1 มกราคม ของทุกปี มีการทำบุญ และตักบาตรอาหารแห้ง |

 |
ประเพณีสงกรานต์ จัดกิจกรรมร่วมกับประชาชนในเขตเทศบาล มีการสรงน้ำพระ และรดน้ำขอพรจากผู้สูงอายุ และทำกิจกรรมนันทนาการ |

 |
ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา เทศบาลตำบลแก่งเสือเต้นและประชาชนร่วมกัน จัดขบวนแห่เทียน นำไปถวายวัดที่ในท้องถิ่น |
|
|
|

 |
ประเพณีออกพรรษา เทศบาลฯ ร่วมกับผู้นำชุมชน ประชาชน และชมรมอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น จัดกิจกรรมทำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง พร้อมกับตักบาตรพันธุ์ปลามหากุศล |
|

 |
ประเพณีลอยกระทง เทศบาลฯ ร่วมกับภาคประชาชน จัดกิจกรรมการประกวดนางนพมาศ ประกวดกระทง |
|
|
|
|
|
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น |

 |
กลุ่มจักสานหมู่ที่ 7 |

 |
สินค้า Otop กลุ่มป้าขวัญเรือน เช่น เม็ดทานตะวันอบแห้ง,กล้วยอบ,ข้าวโพดคั่ว เป็นต้น |
ภาษาถิ่น |

 |
ใช้ภาษาไทยกลาง |
|
|
|
|
|

 |
สินค้าโดดเด่น คือ ตะกร้าสาน,เม็ดทานตะวันอบแห้ง,กล้วยอบ,ข้าวโพดคั่ว เป็นต้น |
|
|
|
|